การเลือกน้ำมันเกียร์ - Auto & Manual Transmission Oil gear
ประเภทของเกียร
ก่อนที่เราจะพูดถึงน้ำมันเกียรขอพูดอธิบายเรื่องเกียรเพื่อให้มีความเข้าใจตรงกันก่อนนะครับ ว่าเกียรที่เราใช้กันมันมีอยู่กี่ชนิดและแต่ละชนิดมีความแตกต่างกันอย่างไรรถของคุณผลิตปีไหน
เหมาะสมกับรถของเราหรือเปล่า นั่นก็จะทำให้เราสามารถเข้าใจหลักการของมันเพื่อใช้ในการเลือกน้ามันเกียรให้มีความถูกต้องและไม่ทำให้เครื่องยนต์และเกียรเสียหายก่อนเวลาอันควร
การเลือกน้ำมันเกียรผิดมีผลกับการส่งกำลังของเครื่องยนต์ อัตราเร่ง และ ทำให้กระกวนการคิดของ ECU ของระบบผิดเพื้ยนไปทำเกิดสาเหตุหลายๆอย่างเช่น เครื่องยนต์อืด เร่งไม่ขึ้น
หรือเครื่องร้อนเร๊วเป็นต้น ที่กล่าวมาเป็นแค่ส่วนเล็กๆ ของปัญหาที่เกิดขี้นยังไม่รวมต้องทำการยกใหม่ก่อนเวลาอันควร
เกียรธรรมดา
เป็นเกียรที่อาศัยหลักการทำงานที่ไม่ยุ่งยากซับซ้อนเพื่อส่งผ่านกำลังจากเครื่องยนต์ไปที่ชุดเกียรโดยอาศัยชุดแผ่นครัชเป็นตัวลงกำลังเข้าชุดเกียรและส่งผ่านกำลังไปที่ชุดเฟื่องโดยชุดเฟื่องแต่ละชุด
จะมีขนาดที่ไม่เท่ากัน เกียรหนึ่งจะมีขนาดใหญ่เพื่อส่งกำลังขับให้เครื่องยนต์ให้รถเคลื่อนไปข้างหน้าได้ และเกียรห้าจะเป็นตัวส่งแรงขับเคลื่อนสูงสุด จะเห็นว่าความซับซ้อนไม่มาก
เกียรออโต้เมติก
เป็นเกียรที่สามารถปรับการใช้งานได้เองตามความเร็วที่กำหนด กล่าวคือการทำงานของเกียรออโตเมติดจะทำงานสัมพันธ์กับกล่องคอนโทร ECU ซึ่งจะทำหน้าทีกำหนดว่าจะให้เปลี่ยนเกียร
เมื่อความเร็วรอบเท่าไร หลักการทำงานจะซับซ้อน เพราะจะขึ้นอยู่กับกล่องควบคุม เห็นไหมละครับ หลักการคนละอย่างเลย และในเกียรออโตเมติกเองยังแบ่งเป็นสองถึงชนิด ดังนี้
เกียรออโตเมติกแบบแบบทอร์คคอนเวนเตอร์
เป็นเกียรออโตเมติดจะใช้แผ่นคลัชแผ่นเล็กๆ ประกบระบบส่งกำลังซึ่งต้องอาศัยน้ำมันหล่อลื่นหรือเรียกว่าน้ำมันเกียร ที่มีความหนึดต่ำเพื่อให้แผ่นคลัชไม่หนึดและจับกันกับแผ่นเหล็ก
ซึ่งมันจะใช้แรงดันน้ำมันดันตัวทอร์ค ซึ่งทำหน้าที่คล้ายคลัชซึงอาจจะมี สองชุดหรือสามชุดแล้วแต่ชนิด ซึ่งวิธีนี้อาจสูญเสียกำลังไปกับการเปลี่ยนเกียรไปประมาณ 10% ถ้าน้ำมันเกียรเสื่อมคุณภาพ
ประสิทธิภาพจะลดลง
การพัฒนาเกียรออโตเมติกได้มีการต่อยอดไปเป็นเกียรแบบทริพโทรนิค ซึ่งก็เกียรออโตแบบหนึ่ง
เกียรออโตเมติกแบบ CVT
ใช้สายพานและพู่เล่ย์แปรผัน(ปรับขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางได้)เริ่มเข้ามาเมืองไทยน่าจะยุคปี2000 เกียร์แบบนี้คล้ายๆกับเกียร์ของรถมอไซค์ออโตเมติคทั่วไป และพู่เล่ย์ถูกควบคุมด้วย ECU
ซึ่งมีข้อดีคือจำนวนสปีดของเกียร์มากในตลาดตอนนี้สามารถทำได้ถึง 7สปีด การเปลี่ยนเกียร์ขึ้นลงนุ่มนวลไม่กระตุก หลายคนบอกว่าอืดเพราะ รอบอยู่นิ่งแต่ความเร็วเพิ่ม ข้อเสียคือยังคงมี
ความสูญเสียกำลังเหมือนกันเพราะสานพานต้องตึงถึงจะส่งผ่านกำลังได้ สายพานมีอายุการใช้งานตามระยะเวลา
ขอยกตัวอย่างแค่นี้สำหรับเกียรแต่ละแบบที่มีใช้อยู่ในขณะนี้ เพราะยังมีเกียรอีกหลายชนิดแต่ล้วนต่อยอดออกไปเช่น ซิงเกิ้ลคลัส และ ดูอัสคลัส
การเลือกน้ามันเกียร
อับดับแรกเลยให้ดูว่า เป็นน้ำมันเกียรสำหรับเกียรอะไร ถ้าเป็นเกียรธรรมดาให้เลือกใช้ MTF (Manual transmission fluid ) จะมีค่าเฉพาะดังนี้
- หน้าที่ของน้ำมันเกียร์ธรรมดา คือ
- ลดแรงเสียดทานและสึกหรอ
- ลดเสียงดังและการสั่นสะเทือนในเรือนเกียร์
- ชะล้างเศษโลหะจากหน้าฟันเกียร์ที่เกิดจากการกระเทือน และเสียดสี
- ป้องกันสนิม และการกัดกร่อน
คุณสมบัติของน้ำมันเกียร์ธรรมดาและเฟืองท้าย
ควรจะมีสารรับแรงกดสูง Additive เคลือบผิวฟันเกียร์
ทนความร้อนและปฏิกิริยาอ็อกซิเดชัน
ไม่กัดกร่อนวัสดุในเรือนเกียร์
มาตรฐานน้ำมันเกียร์
มาตรฐานด้านความหนืด SAE
แบบเกรดเดี่ยว #90, #140
และมัลติเกรด # 80W-90, #80W140
มาตรฐานสมรรถนะ API
GL1 = รถที่ใช้ Spiral bevel & worm gear axles (เฟืองตัวหนอน) ใช้งานเบา เป็นน้ำมันแร่ อาจเติมสารกันฟอง
GL-2 = ใช้กับเฟืองตัวหนอน ทำงานรับน้ำหนักและความร้อนสูงกว่า GL-1
GL-3 = เกียร์ธรรมดา และ Spiral bevel axles
GL-4 = ไฮปอยด์เกียร์ ทำงานใต้สภาวะ ความเร็วสูง แรงบิดต่ำ หรือ ความเร็วต่ำแต่แรงบิดสูง
GL-5 = ไฮปอยด์เกียร์ ทำงานใต้สภาวะ ความเร็วต่ำ แต่มีการกดดันสูง แรงบิดสูง หรือ ความเร็วสูง แรงบิดต่ำ
ถ้าเป็นเกียรออโตเมติกจะใช้คำว่า ATF (Automatic transmission fluid) ขึ้นต้น เช่น ของศูนย์ HONDA คือ ATF-Z1,ATF-DW1 เป็นต้น เรามาดูกันว่ายังมีคำไหนแทนกันได้อีก และถ้าเป็นเกียร CVT (continuously variable transmission) ก็ใช้คำขึ้นต้นนี้เท่านั้น
Dexron
คำนี้มันมาจากสมัยก่อนนู้น GM เค้าผลิตเป็นเจ้าแรกๆควบมากับ Mercon ของฟอร์ดและ ATF+4 ของ ไครสเลอร์ ก็เลยใช้คำๆนี้ Dexron ที่คนเค้าใช้กันอยู่มากกว่าเพื่อนมาเป็นมาตรฐานที่ใช้กันทั่วโลก
Dexron,Dexron-ll, llD, Dexron IIE เป็นน้ำมันเกียร์ยุคแรกๆของ GM ถูกพัฒนาต่อเป็น Dexron III ข้อแตกต่างระหว่าง Dex II กับ Dex IIE คือ สารต่อต้านการสึกกร่อน มีค่า V.I. 160 – 165
เป็นน้ำมันเกียร์ที่มีความหนืดปานกลาง ทนความร้อนและไม่รวมตัวกับอากาศได้ง่าย Dexron III, IIIH – เป็นน้ำมันที่ GM ใช้เป็นมาตรฐานติดรถในปี 1994 และผู้ผลิตรถรายอื่นๆนำไปพัฒนาต่อเป็นจำนวนมาก
และ GM เริ่มมาใช้ในปี 2003 และหยุดการผลิตตัว IIIH ในปี 2006 และพัฒนาตัว Dexron IV ต่อจาก Dex III มีค่า V.I. 200 สำหรับรถเล็กที่ผลิตก่อนปี 94 เค้าไม่แน่ะนำให้ใช้ Dex III ครับ เหตุผล คือ
การระบายความร้อนในเกียร์ที่มี V.I เกิน 200 ทำได้ช้า ความร้อนสะสมจะทำให้คลัชลื่น และพังง่ายน้ำมันเกียร์ออโต้มีค่าความหนีด (Viscosity Index หรือ V.I) ตัวนี้เป็นตัวสำคัญครับ เป็นตัวชี้บอกความสามารถ
ในการเปลี่ยนแปลงความหนืดตามสภาพอากาศ ถ้าจะเปรียบกับน้ำมันเครื่อง ก็คงเหมือนตัวเลขข้างหลัง 50 40 30 20 ตัวเลขยิ่งน้อยยิ่งใส เลขมากๆยิ่งหนืด
สรุป การเลือกน้ำมันเกียร
ถ้าเป็นเกียรธรรมดาจะใช้ MTF เป็นหลัก ซึ่งอาจมีค่า มารตฐาน SAE (ค่าความหนืดกับอุณหภูมิ) หรือ API ก็ได้ ซึ่งอาจจะใช้น้ำมันเครื่องแทนน้ำมันเกียรได้ชั่วคราวถ้าจำเป็น ซึ่งต้องมีมาตรฐาน SAE เดียวกัน
ซึ่งที่เหลือจะเป็นสารที่เติมเข้าไปในน้ำมันเพื่อลดความสึกหรอเป็นต้น ส่วนเกียรออโตเมติกให้ใช้ น้ำมันที่ขึ้นต้นด้วย ATF แล้วตามดูปีของรถยนต์ที่ใช้ ตามมาตรฐาน Dexron เป็นต้น โดยรถที่มีอายุต่ำกว่าปี 2002 แนะนำให้ใช้ Dexron II เท่านั้น
อ้างอิงภาพ http://www.carbibles.com/transmission_bible.html
เครดิต : http://www.anyidea.club/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B3%E0%B8%A1%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%A3%E0%B9%8C-auto-manual-transmission-oil-gear/
วันศุกร์ที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2562
MIVEC & VTEC
MIVEC & VTEC
อาจจะกล่าวว่ากินกันไม่ลงระหว่าง VTEC และ MIVEC ด้วยการพัฒนาที่ไม่หยุดยั้งของทั้งสองค่ายรถยนต์ยักย์ใหญ่ของวงการรถยนต์ ระหว่าง HONDA และ Misubushi ทำให้รถมีความเร็วและแรงโดยให้หลักการ MIVEC และ VTEC ซึ่งหลายท่านคงจะมีความสงสัยอยู่ในใจ ว่าระบบมันทำงานอย่างไรและมีข้อแตกต่างกันอย่างไร จะได้เป็นข้อเปรียบเทียบกันระหว่างสองค่ายนี้
MIVEC คืออะไร
หลายคนที่เคยขับรถ Mitsubishi หรือสาวกมิตซู อาจจะเคยได้ยินคำนี้มามาบ้างแล้ว แต่สำหรับสาวกอย่างฮอนด้าอาจจะยังไม่เข้าใจมัน ซึ่งอาจจะมีข้อถกเถียงมาตลอดว่ามันคืออะไร ดีกว่าหรือเหมือนกับ VTEC หรือ I-VTEC หรือเปล่า อะไรดีกว่ากัน ซึ่งระบบ MIVEC เริ่มมีมาตั้งแต่ปี 1992 ในเครื่องยนต์รหัส 4G92 เป็นเครื่องยนต์แบบ DOHC ในรถ Mitsubishi Lancer sedan และ Mitsubishi Mirage Hatchback มีกำลัง 145 แรงม้า นั้นก็คือจุดเริ่มต้นที่จะได้นำมาเล่าให้ฟังกัน ว่าทั้งสองระบบคืออะไร อะไรดีกว่า จะได้คุยกันได้ในทิศทางเดียวกัน
MIVEC
(Mitsubishi Innovative Valve timing Electronic Control system) เป็นระบบที่เพิ่มกำลังหรือแรงม้าในรอบสูง เพื่อให้อัตราการการแร่งที่ดีขึ้น ซึ่งหลักการก็คือการควบคุมการปิดเปิดวาล์วไอดีและไอเสีย ซึ่งระบบ MIVEC นี้ได้ถูกพัฒนาโดยบริษัทมิตซูบิชิ ประเทศญี่ปุ่น
MIVEC มีหลักการทำงานอย่างไร การทำงานของมันก็บอกอยู่แล้วว่ามันทำหน้าที่ควบคุมวาล์ว ไอดีและไอเสียตามที่กล่าวมาแต่ต้นแล้วการทำงานของมันละทำงานยังไง กล่าวคือ มันก็เป็นการควบคุมวาล์วแบบแปรผัน โดยจะควบคุมเวลาปิดเปิดวาล์วตามระยะเวลาตามความเร็วรอบ โดยเพิ่มประสิทธิภาพในช่วงรอบต่ำและรอบกลางและเพิ่มพลังงานในรอบสูง โดยการเปลี่ยนแปลงองศาของลูกเบี้ยวปิดเปิดวาล์ว โดยควบคุมการเปิดปิดด้วยกล่อง ECU
จากภาพจะเห็นการควบคุมวาล์ว โดยเมื่อปกติแคมจะไม่มีการ Lock ในช่วงรอบต่ำระยะการยกวาล์ลก็จะน้อย นั้นก็จะทำให้ปริมาณอากาศที่เข้าก็น้อย น้ามันที่จ่ายให้ก็ปกติ แต่เมื่อมีความต้องการความแรงเพิ่มขี้นจะยกลิฟวาล์วขึ้นไปเพื่อต้องการอากาศเข้ามาเพิ่มและปริมาณน้ำมันที่เพิ่มในรอบสูงเพื่อรีดพลังงาน โดยทั้งหมดควบคุมการทำงานด้วย ECU ซึ่งเรียกระบบนี้ว่า VVT (Variable valve timing) ซึงรวมๆ แล้วก็คือควบคุมกรายกวาล์วนั้นเอง
VTEC (Variable Timing Electronically Controlled) คือ ระบบที่ทำหน้าที่เพิ่มแรงม้าและอัตราเร่งให้กับระบบในเครื่องยนต์ในรอบสูง ประมาณ 3800-6000 รอบของเครืองยนต์แล้วแต่ว่าจะเป็นเครื่องยนต์ขนาดไหน ซึ่งจะมีคำพูดในหมู่เพื่อนนิยมรถฮอนด้า (HONDA) ประมาณว่าเมื่อเทคเปิดชีวิตเปลี่ยนประมาณนี้ แล้วแต่ใครจะเรียกว่าอะไร ซึ่งจะทำให้เครื่องแรงนั้่นเอง ซึงระบบนี้ถูกใช้ให้กับเครื่องยนต์ HONDA VTEC รุ่นแรกๆ ก็เป็น ตระกูล B-Series เช่น B16A และ D-Series เช่น D15B ซึ่งเริ่มผลิตตั้งแต่ปี่ 1992 ซึ่งให้กำลังอยู่ที่ 130 แรงม้าประจำการอยู่ใน Honda Civic Vti (3-door)
อาจจะกล่าวว่ากินกันไม่ลงระหว่าง VTEC และ MIVEC ด้วยการพัฒนาที่ไม่หยุดยั้งของทั้งสองค่ายรถยนต์ยักย์ใหญ่ของวงการรถยนต์ ระหว่าง HONDA และ Misubushi ทำให้รถมีความเร็วและแรงโดยให้หลักการ MIVEC และ VTEC ซึ่งหลายท่านคงจะมีความสงสัยอยู่ในใจ ว่าระบบมันทำงานอย่างไรและมีข้อแตกต่างกันอย่างไร จะได้เป็นข้อเปรียบเทียบกันระหว่างสองค่ายนี้
MIVEC คืออะไร
หลายคนที่เคยขับรถ Mitsubishi หรือสาวกมิตซู อาจจะเคยได้ยินคำนี้มามาบ้างแล้ว แต่สำหรับสาวกอย่างฮอนด้าอาจจะยังไม่เข้าใจมัน ซึ่งอาจจะมีข้อถกเถียงมาตลอดว่ามันคืออะไร ดีกว่าหรือเหมือนกับ VTEC หรือ I-VTEC หรือเปล่า อะไรดีกว่ากัน ซึ่งระบบ MIVEC เริ่มมีมาตั้งแต่ปี 1992 ในเครื่องยนต์รหัส 4G92 เป็นเครื่องยนต์แบบ DOHC ในรถ Mitsubishi Lancer sedan และ Mitsubishi Mirage Hatchback มีกำลัง 145 แรงม้า นั้นก็คือจุดเริ่มต้นที่จะได้นำมาเล่าให้ฟังกัน ว่าทั้งสองระบบคืออะไร อะไรดีกว่า จะได้คุยกันได้ในทิศทางเดียวกัน
MIVEC
(Mitsubishi Innovative Valve timing Electronic Control system) เป็นระบบที่เพิ่มกำลังหรือแรงม้าในรอบสูง เพื่อให้อัตราการการแร่งที่ดีขึ้น ซึ่งหลักการก็คือการควบคุมการปิดเปิดวาล์วไอดีและไอเสีย ซึ่งระบบ MIVEC นี้ได้ถูกพัฒนาโดยบริษัทมิตซูบิชิ ประเทศญี่ปุ่น
MIVEC มีหลักการทำงานอย่างไร การทำงานของมันก็บอกอยู่แล้วว่ามันทำหน้าที่ควบคุมวาล์ว ไอดีและไอเสียตามที่กล่าวมาแต่ต้นแล้วการทำงานของมันละทำงานยังไง กล่าวคือ มันก็เป็นการควบคุมวาล์วแบบแปรผัน โดยจะควบคุมเวลาปิดเปิดวาล์วตามระยะเวลาตามความเร็วรอบ โดยเพิ่มประสิทธิภาพในช่วงรอบต่ำและรอบกลางและเพิ่มพลังงานในรอบสูง โดยการเปลี่ยนแปลงองศาของลูกเบี้ยวปิดเปิดวาล์ว โดยควบคุมการเปิดปิดด้วยกล่อง ECU
จากภาพจะเห็นการควบคุมวาล์ว โดยเมื่อปกติแคมจะไม่มีการ Lock ในช่วงรอบต่ำระยะการยกวาล์ลก็จะน้อย นั้นก็จะทำให้ปริมาณอากาศที่เข้าก็น้อย น้ามันที่จ่ายให้ก็ปกติ แต่เมื่อมีความต้องการความแรงเพิ่มขี้นจะยกลิฟวาล์วขึ้นไปเพื่อต้องการอากาศเข้ามาเพิ่มและปริมาณน้ำมันที่เพิ่มในรอบสูงเพื่อรีดพลังงาน โดยทั้งหมดควบคุมการทำงานด้วย ECU ซึ่งเรียกระบบนี้ว่า VVT (Variable valve timing) ซึงรวมๆ แล้วก็คือควบคุมกรายกวาล์วนั้นเอง
VTEC (Variable Timing Electronically Controlled) คือ ระบบที่ทำหน้าที่เพิ่มแรงม้าและอัตราเร่งให้กับระบบในเครื่องยนต์ในรอบสูง ประมาณ 3800-6000 รอบของเครืองยนต์แล้วแต่ว่าจะเป็นเครื่องยนต์ขนาดไหน ซึ่งจะมีคำพูดในหมู่เพื่อนนิยมรถฮอนด้า (HONDA) ประมาณว่าเมื่อเทคเปิดชีวิตเปลี่ยนประมาณนี้ แล้วแต่ใครจะเรียกว่าอะไร ซึ่งจะทำให้เครื่องแรงนั้่นเอง ซึงระบบนี้ถูกใช้ให้กับเครื่องยนต์ HONDA VTEC รุ่นแรกๆ ก็เป็น ตระกูล B-Series เช่น B16A และ D-Series เช่น D15B ซึ่งเริ่มผลิตตั้งแต่ปี่ 1992 ซึ่งให้กำลังอยู่ที่ 130 แรงม้าประจำการอยู่ใน Honda Civic Vti (3-door)
VTEC มีหลักการทำงานอย่างไร
นิยามของมันก็คือการควบคุมการเปิดปิด-ระยะยกของวาล์วทางด้านไอดี ด้วยระบบอิเล็คโทรนิค.. ซึ่งในรอบต่ำ เครื่องจะใช้ ชุดแคมปกติ ที่มีองศาและ ลิฟต่ำ เพื่อการทำงานที่นุ่มนวล และ ประหยัดเชื้อเพลิง และเมื่อระบบ วีเทคทำงานแล้ว จะมีการเปลี่ยนชุดแคมไปใช้ ชุด cam สำหรับรอบสูงที่มี องศาสูง และ ลิฟท์สูงกว่าชุดแรกเพื่อที่จะได้กำลังเครื่องที่สูงกว่า โดยจากรูปจะเห็นชัดเจนคือปกติขับขี่รอบต่ำแคมจะไม่ยก แต่พอรอบสูงแคมจะยกค้างไว้ ซึ่งจะจ่ายน้ำมันมากขึ้น
จากภาพการทำงานก็คือการเปลี่ยนการกดของกระเดี่ยงแคม ปกติในรอบต่ำกระเดี่ยงแคมจะอิสระ เพลาลูกเบี่ยวจะกดแคมให้วาวล์วไอดีเปิดปริมาณปกติเรื่องว่ายกวาล์วเล็กน้อยในรอบต่ำ แต่เมื่อรอบเครื่องยนต์รอบสูงจะมีสลักล๊อกแคม โดยจะใช้โซลินอย์ในการเปิดปิด เรียกว่า โซลินอย์วีเทค ทำให้วาวล์วเปิดมากขึ้น
MIVEC & VTEC ต่างกันอย่างไร
การหลักการ การทำงานแล้วแทบไม่จะไม่แตกต่างกันคือการควบคุมลิ้นไอดีให้เปิดกว้างขึ้นในรอบสูงตามจำนวนรอบและเวลา แต่สิ่งที่ต่างกันคือ การยกแคมที่หลักการทำแตกต่างกัน
นิยามของมันก็คือการควบคุมการเปิดปิด-ระยะยกของวาล์วทางด้านไอดี ด้วยระบบอิเล็คโทรนิค.. ซึ่งในรอบต่ำ เครื่องจะใช้ ชุดแคมปกติ ที่มีองศาและ ลิฟต่ำ เพื่อการทำงานที่นุ่มนวล และ ประหยัดเชื้อเพลิง และเมื่อระบบ วีเทคทำงานแล้ว จะมีการเปลี่ยนชุดแคมไปใช้ ชุด cam สำหรับรอบสูงที่มี องศาสูง และ ลิฟท์สูงกว่าชุดแรกเพื่อที่จะได้กำลังเครื่องที่สูงกว่า โดยจากรูปจะเห็นชัดเจนคือปกติขับขี่รอบต่ำแคมจะไม่ยก แต่พอรอบสูงแคมจะยกค้างไว้ ซึ่งจะจ่ายน้ำมันมากขึ้น
จากภาพการทำงานก็คือการเปลี่ยนการกดของกระเดี่ยงแคม ปกติในรอบต่ำกระเดี่ยงแคมจะอิสระ เพลาลูกเบี่ยวจะกดแคมให้วาวล์วไอดีเปิดปริมาณปกติเรื่องว่ายกวาล์วเล็กน้อยในรอบต่ำ แต่เมื่อรอบเครื่องยนต์รอบสูงจะมีสลักล๊อกแคม โดยจะใช้โซลินอย์ในการเปิดปิด เรียกว่า โซลินอย์วีเทค ทำให้วาวล์วเปิดมากขึ้น
MIVEC & VTEC ต่างกันอย่างไร
การหลักการ การทำงานแล้วแทบไม่จะไม่แตกต่างกันคือการควบคุมลิ้นไอดีให้เปิดกว้างขึ้นในรอบสูงตามจำนวนรอบและเวลา แต่สิ่งที่ต่างกันคือ การยกแคมที่หลักการทำแตกต่างกัน
แนะนำจาก youtube
https://www.youtube.com/embed/mgDdbrMh6bo?feature=oembed
สรุป
จากการทำงานแล้วก็คือการควบคุมการทำงานของลิ้นทั้งคู่ แต่การควบคุมการทำงานการควบคุมต่างกัน ผลที่ได้คล้ายกันๆ คือเพิ่มกำลังในรอบสูง
อ้างอิงจาก
http://www.anyidea.club/%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%9A%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%9A-%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%97%E0%B8%B3%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%AB%E0%B8%A7%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87-mivec-%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0-vtec/
https://www.youtube.com/embed/mgDdbrMh6bo?feature=oembed
สรุป
จากการทำงานแล้วก็คือการควบคุมการทำงานของลิ้นทั้งคู่ แต่การควบคุมการทำงานการควบคุมต่างกัน ผลที่ได้คล้ายกันๆ คือเพิ่มกำลังในรอบสูง
อ้างอิงจาก
http://www.anyidea.club/%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%9A%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%9A-%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%97%E0%B8%B3%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%AB%E0%B8%A7%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87-mivec-%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0-vtec/
ศัพท์ภาษาอังกฤษที่เกี่ยวกับชิ้นส่วนรถยนต์ [Auto parts] [2]
ศัพท์ภาษาอังกฤษที่เกี่ยวกับชิ้นส่วนรถยนต์ [Auto parts] [2]
Motorcar–รถยนต์
Automobile (ออ-โท-โม้-บีล) – รถยนต์
Car– รถยนต์
Two-door sedan–รถคู้เป้ (สองประตู)
Four-door sedan(หรือsaloon)–รถเก๋งสี่ประตู
Sports car–รถสปอร์ต
Pickup truck–รถปิ๊กอัพ, รถบรรทุกเล็ก
Convertible(คัน-เวิร์ท-ทิ-เบิ้ล) – รถเปิดประทุน
Hatchback–รถเก๋งสามประตู
Station wagon (estate car)–รถตรวจการ, รถบรรทุกกึ่งโดยสาร
Minivan–รถเก๋งครอบครัว
Minibus–รถประจำทางขนาดเล็ก
Multipurpose vehicle(วี้-อิ-เคิล) – รถอเนกประสงค์
All-terrain vehicle–รถอเนกประสงค์ ใช้ได้ทุกสภาพภูมิประเทศ
Limousine–รถลีมูซีน (รับส่งผู้โดนสารระดับวีไอพี)
Motor–เครื่องยนต์
Steering wheel–พวงมาลัย
Radiator(เร-ดิ-เอ๊-เท่อะ) – หม้อน้ำ
Car jack–แม่แรงรถยนต์
Exhaust (เอ๊ก-ซ้อท)pipe–ท่อไอเสีย
Muffler(มัฟ-เฟล่อ) – ท่อพักเชื่อมระหว่างท่อไอเสีย (หม้อเก็บเสียง) อยู่ใต้ตัวรถ
Chassis (แชส-ซิส) – โครงรถยนต์
Shaft(ชาฟท์) – คานรถ, เพลารถ (คัทซี)
Gearshift(เกียร์-ชิฟท์) – คันเกียร์
Clutch–คลัตช์
Battery–แบตเตอรี่
Wheel– ล้อรถ
Accelerator (แอค-ซี-ลิ-เร้-เท่อะ) – คันเร่ง
Brake–เบรค
Top(หรือroof)–หลังคารถยนต์
Horn – แตร
Electric horn– แตรไฟฟ้า
Spark plug(สพาร์ค-พลั้ก) – หัวเทียน
Windshield(วิน-ชีลด์) (windscreen) wiper–ที่ปัดน้ำฝน
Headlight (หรือfront light)–ไฟหน้ารถ
Taillight(เทล-ไล้ท์)(หรือ Rear light– เรีย-ไล้ท์)– ไฟท้าย
Turn signal (turn indicator)– ไฟเลี้ยว
Brake light – ไฟเบรค, ไฟห้ามล้อ
Backup light (หรือ reversing light)– ไฟถอยหลัง
License plate light – ไฟป้ายทะเบียน
Side light – ไฟขอบรถ มีทั้งหน้าและหลังตรงกันชน
High beam (หรือ main beam) – ไฟสูง
Low beam– ไฟต่ำ
Fog light (หรือ fog lamp) – ไฟตัดหมอก
Grille (กริล) – กระจังหน้ารถ
Hood (หรือ bonnet)– ฝากระโปรงห้องเครื่อง
Bumper– กันชน
Outside mirror (หรือ door mirror)– กระจกมองด้านข้าง
Shield(ชีลด์) – ขอบยางหุ้มกันชน
Fender – บังโกลน, บังโคลน
Door– ประตูรถ
Body side molding– ขอบยางหุ้มตัวถัง
Door handle– มือจับบานประตู
Door lock– แม่กุญแจประตู (สำหรับเปิดเข้าในรถ)
Window– หน้าต่างรถ
Quarter window– หน้าต่างเล็กข้างที่นั่งหลัง
Windshield (หรือ windscreen) – กระจกบังลมหน้า
Windshield (หรือ windscreen) wiper– ที่ปัดน้ำฝน
Wiper arm– ก้านปัดน้ำฝน
Wiper blade rubber– ยางใบปัดน้ำฝน
Cowl (เคาล์) (หรือ scuttle panel– แพ้น-เนิ่ล)– ส่วนบนของตัวถังใต้กระจกหน้า สำหรับตั้งที่ปัดน้ำฝน
Outside mirror (door mirror)– กระจกมองด้านข้าง
Rearview (เรีย-วิว) mirror– กระจกส่องมองข้างหลัง
Washer nozzle(โนส-เซิล) – หัวฉีดน้ำล้างกระจก
Sliding sunroof– หลังคารับแดด (เลื่อนเปิดปิดได้)
Drip molding– รางน้ำขอบหน้าต่างรถ
Antenna(แอน-เท้น-น่ะ) – เสาอากาศวิทยุ-ทีวี
Trunk (หรือ boot) – ห้องเก็บของท้ายรถ
Tire (tyre)– ยางรถ
Pneumatic(นิว-เม-ติก) tire– ยางแบบมียางใน
Radial tire– ยางเรเดียล
Wheel – ล้อรถ
Wheel cover (คัฟ-เว่อะ) – ฝาครอบล้อ
Mud flap(แฟลพ) – ยางกันโคลนหลังล้อทั้งสี่ด้าน
Petrol tank (หรือ fuel tank) – ถังน้ำมัน, ถังเชื้อเพลิง
Fuel tank door– ฝาถังน้ำมันเชื้อเพลิง
Bucket seat– เบาะนั่งเดี่ยว (ตอนหน้ารถ)
Seat– เบาะนั่ง (ที่รองก้น)
Rear seat (backseat) – เบาะนั่งตอนหลัง
Headrest– พนักพิงศีรษะ (อยู่บนสุดของเบาะนั่ง)
Backrest– พนักพิงหลัง (ของเบาะนั่ง)
Seatbelt– เข็มขัดนิรภัย
Shoulder(โช้ล-เด่อะ) belt– เข็มขัดนิรภัยแบบพาดบ่า
Webbing– เข็มขัดนิรภัยแบบรัดหน้าตัก (อยู่เบาะนั่งตอนหลัง)
Adjustment knob– ปุ่มปรับพนักพิงหลัง (ปรับเอนเบาะ)
Sliding lever(เลฟ-เว่อะ) – คันปรับเลื่อนเบาะนั่ง
Sliding rail(เรล) – รางเลื่อนเบาะนั่ง
Armrest(อาร์ม-เรสท์) – ที่วางแขน (ทั้งเบาะหน้าและหลัง)
Bench seat– เบาะนั่งยาวด้านหลังรถ (เฉพาะที่รองก้น)
Interior door handle– ที่เปิดประตูด้านในของรถ
Assist grip– มือจับสำหรับเปิดประตูด้านในของรถ
Window regulator handle– ที่หมุนกระจกขึ้นลง (สำหรับรถที่ไม่ใช้ระบบไฟฟ้า)
Accessory pocket– ที่ใส่ของข้างประตู (ด้านในรถ)
Interior door lock button– ปุ่มล็อกประตูด้านใน (สำหรับรถที่ไม่ใช้ระบบไฟฟ้า)
Trim panel(ทริม-แพ้นเนิ่ล) – แผงภายในประตู (แผงบุด้านข้างประตูภายในตัวรถ)
Hinge(ฮิ้นจ์) – บานพับประตู
Horn– แตรรถ
Instrument panel– แผงหน้าปัด (อยู่ใต้พวงมาลัย)
Dashboard(แดช-บอร์ด) – แผงหน้าปัดทั้งหมดด้านหน้ารถ รวม instrument panel ด้วย
Wiper(ไว้-เพ่อะ) switch (หรือ wiper lever)– คันควบคุมที่ปัดน้ำฝน
Sun visor(ไว้-เซ่อะ) – แผงบังแดดหน้ารถ
Vanity(แว้น-นิ-ที่) mirror– กระจกส่องหน้าคนนั่งเบาะหน้า (แปะติดอยู่กับแผงบังแดด)
Vent – ช่องระบายลม อยู่บนแผงหน้าปัดทั้งด้านซ้ายและขวา
Clock– นาฬิกาบนแผงหน้าปัด
Turn signal lever – คันบังคับสัญญานไฟเลี้ยวซ้าย-ขวา
Headlight signal lever(เลฟ-เว่อะ) – คันเปิดปิดสัญญานไฟหน้า และไฟสูง-ต่ำ
Horn – แตรรถ
Ignition switch– สวิตซ์เปิด-ปิดเครื่องยนต์
Steering wheel– พวงมาลัยรถ
Clutch pedal(เพ้ด-เดิ้ล) – คันเหยียบคลัตซ์
Brake pedal– คันเหยียบเบรก
Parking brake lever– คันเบรกมือ
Gas pedal– คันเร่งความเร็ว (เร่งแกส-น้ำมัน)
Accelerator(แอค-เซล-เลอ-เร้-เท่อะ) pedal– คันเร่งความเร็ว
Glove compartment– ช่องเก็บของหน้ารถ อยู่ใต้แผงหน้าปัดด้านตรงข้ามคนขับ
Climate control– ปุ่มควบคุมเครื่องปรับอากาศ
Gear change lever– คันเกียร์
Gearshift lever– คันเกียร์
Low fuel(ฟิ้ว-เอิ้ล) warning light – ไฟเตือนระดับน้ำมันเชื้อเพลิง-แกสต่ำ
High(หรือ main) beam indicator light – ไฟสัญญานไฟสูง (อยู่บนแผงหน้าปัด มักขึ้นเป็นสีน้ำเงินเมื่อเปิดไฟสูง)
Battery warning light– ไฟเตือนสภาพแบตเตอรี่
Oil warning light– ไฟเตือนน้ำมันเครื่อง
Alternator (อ๊อล-เทอะ-เน-เท่อะ) warning light – ไฟเตือนสภาพแบตเตอรี่
Door open warning light– ไฟเตือนประตูปิดไม่สนิท
Seat-belt warning light– ไฟเตือนเข็มขัดนิรภัย (ถ้าไม่สวมเวลาขับรถ)
Temperature(เท็ม-เพ้อ-เช่อะ)indicator– เกจ์วัดระดับอุณหภูมิเครื่องยนต์ (อยู่ใกล้กับเกจ์วัดน้ำมัน)
Turn signal indicator– สัญญานไฟเลี้ยวบนแผงหน้าปัด (เป็นรูปลูกศรชี้ซ้าย-ขวา)
Tachometer (เท-ค้อม-มิ-เท่อะ) – เครื่องวัดอัตราหมุนรอบของเครื่องยนต์ต่อนาที
Fuel indicator – เกจ์วัดระดับน้ำมันเชื้อเพลิง
Odometer(โอ-ด๊อม-มี-เท่อะ) – มาตรวัดระยะทาง
Mileometer(ไมล์-อ๊อม-มี-เท่อะ) – มาตรวัดระยะทาง (เป็นไมล์)
Trip odometer(ทริพ-โอ-ด๊อม-มี-เท่อะ) – มาตรวัดระยะทางแบบตั้งได้
Trip mileometer– มาตรวัดระยะทางแบบตั้งได้ (ไมล์)
Speedometer (สพี-ด๊อม-มี-เท่อะ) – มาตรวัดอัตราความเร็ว
Audio system – ระบบเสียง มีหลายปุ่มให้เลือกปรับ
Injector– หัวฉีด (ของเครื่องยนต์เบนซิน)
Distributor cap– จานจ่าย
Spark plug– หัวเทียน
Spark plug cable – สายหัวเทียน
Piston – ลูกสูบ
Air conditioner compressor– คอมเพรสเซ่อร์เครื่องปรับอากาศที่ด้านหน้าตอนล่างของเครื่องยนต์
Oil pan– อ่างน้ำมันเครื่อง
Oil drain plug– น้อตหรือจุกเกลียวถ่ายน้ำมันเครื่อง
Fan belt– สายพานพัดลมหม้อน้ำ
Radiator– หม้อน้ำ
Filler cap– ฝาหม้อน้ำ
Cooling fan– พัดลมระบายความร้อนหม้อน้ำ
Intercooler – รังผึ้งระบายความร้อน (ทั้งแผง)
Electric motor – มอเตอร์ไฟฟ้า อยู่ตรงกลางพัดลมหม้อน้ำ
Grille (กริล) – ตะแกรงหม้อน้ำรถยนต์ เป็นเหล็กซี่ๆโปร่ง
Radiator hose (โฮส) – ท่ออ่อนหม้อน้ำ อยู่ด้านล่างสำหรับระบายน้ำทิ้ง
Battery– แบตเตอรี่รถยนต์
Battery cover– ฝาครอบแบตเตอรี่
Positive terminal– ขั้วบวก
Negative terminal– ขั้วลบ
Battery case– กล่อง (ฝา) หุ้มแบตเตอรี่ทั้งสี่ด้าน
Hydrometer- ช่องตรวจระดับน้ำกรด
Engine oil – น้ำมันเครื่อง
Lubricating oil– น้ำมันเครื่อง, น้ำมันหล่อลื่น
Fuel oil– น้ำมันเชื้อเพลิง
Diesel oil– น้ำมันดีเซล-โซล่า
Gasoline -น้ำมันเบนซิน
Gas – น้ำมันเบนซิน (อเมริกา)
Petrol(เพ้-โทรล) – น้ำมันเบนซิน (อังกฤษ)
Flushing (ฟลัช-ชิ่ง) oil– น้ำมันล้างเครื่อง
Brake oil– น้ำมันเบรค
Truck หรือ lorry – รถบรรทุก
Tandem tractor trailer – ชุดรถบรรทุกและรถพ่วง
Truck tractor – ส่วนหัวลากของรถบรรทุก
Truck trailer – ส่วนรถบรรทุกพ่วง
Motorcar–รถยนต์
Automobile (ออ-โท-โม้-บีล) – รถยนต์
Car– รถยนต์
Two-door sedan–รถคู้เป้ (สองประตู)
Four-door sedan(หรือsaloon)–รถเก๋งสี่ประตู
Sports car–รถสปอร์ต
Pickup truck–รถปิ๊กอัพ, รถบรรทุกเล็ก
Convertible(คัน-เวิร์ท-ทิ-เบิ้ล) – รถเปิดประทุน
Hatchback–รถเก๋งสามประตู
Station wagon (estate car)–รถตรวจการ, รถบรรทุกกึ่งโดยสาร
Minivan–รถเก๋งครอบครัว
Minibus–รถประจำทางขนาดเล็ก
Multipurpose vehicle(วี้-อิ-เคิล) – รถอเนกประสงค์
All-terrain vehicle–รถอเนกประสงค์ ใช้ได้ทุกสภาพภูมิประเทศ
Limousine–รถลีมูซีน (รับส่งผู้โดนสารระดับวีไอพี)
Motor–เครื่องยนต์
Steering wheel–พวงมาลัย
Radiator(เร-ดิ-เอ๊-เท่อะ) – หม้อน้ำ
Car jack–แม่แรงรถยนต์
Exhaust (เอ๊ก-ซ้อท)pipe–ท่อไอเสีย
Muffler(มัฟ-เฟล่อ) – ท่อพักเชื่อมระหว่างท่อไอเสีย (หม้อเก็บเสียง) อยู่ใต้ตัวรถ
Chassis (แชส-ซิส) – โครงรถยนต์
Shaft(ชาฟท์) – คานรถ, เพลารถ (คัทซี)
Gearshift(เกียร์-ชิฟท์) – คันเกียร์
Clutch–คลัตช์
Battery–แบตเตอรี่
Wheel– ล้อรถ
Accelerator (แอค-ซี-ลิ-เร้-เท่อะ) – คันเร่ง
Brake–เบรค
Top(หรือroof)–หลังคารถยนต์
Horn – แตร
Electric horn– แตรไฟฟ้า
Spark plug(สพาร์ค-พลั้ก) – หัวเทียน
Windshield(วิน-ชีลด์) (windscreen) wiper–ที่ปัดน้ำฝน
Headlight (หรือfront light)–ไฟหน้ารถ
Taillight(เทล-ไล้ท์)(หรือ Rear light– เรีย-ไล้ท์)– ไฟท้าย
Turn signal (turn indicator)– ไฟเลี้ยว
Brake light – ไฟเบรค, ไฟห้ามล้อ
Backup light (หรือ reversing light)– ไฟถอยหลัง
License plate light – ไฟป้ายทะเบียน
Side light – ไฟขอบรถ มีทั้งหน้าและหลังตรงกันชน
High beam (หรือ main beam) – ไฟสูง
Low beam– ไฟต่ำ
Fog light (หรือ fog lamp) – ไฟตัดหมอก
Grille (กริล) – กระจังหน้ารถ
Hood (หรือ bonnet)– ฝากระโปรงห้องเครื่อง
Bumper– กันชน
Outside mirror (หรือ door mirror)– กระจกมองด้านข้าง
Shield(ชีลด์) – ขอบยางหุ้มกันชน
Fender – บังโกลน, บังโคลน
Door– ประตูรถ
Body side molding– ขอบยางหุ้มตัวถัง
Door handle– มือจับบานประตู
Door lock– แม่กุญแจประตู (สำหรับเปิดเข้าในรถ)
Window– หน้าต่างรถ
Quarter window– หน้าต่างเล็กข้างที่นั่งหลัง
Windshield (หรือ windscreen) – กระจกบังลมหน้า
Windshield (หรือ windscreen) wiper– ที่ปัดน้ำฝน
Wiper arm– ก้านปัดน้ำฝน
Wiper blade rubber– ยางใบปัดน้ำฝน
Cowl (เคาล์) (หรือ scuttle panel– แพ้น-เนิ่ล)– ส่วนบนของตัวถังใต้กระจกหน้า สำหรับตั้งที่ปัดน้ำฝน
Outside mirror (door mirror)– กระจกมองด้านข้าง
Rearview (เรีย-วิว) mirror– กระจกส่องมองข้างหลัง
Washer nozzle(โนส-เซิล) – หัวฉีดน้ำล้างกระจก
Sliding sunroof– หลังคารับแดด (เลื่อนเปิดปิดได้)
Drip molding– รางน้ำขอบหน้าต่างรถ
Antenna(แอน-เท้น-น่ะ) – เสาอากาศวิทยุ-ทีวี
Trunk (หรือ boot) – ห้องเก็บของท้ายรถ
Tire (tyre)– ยางรถ
Pneumatic(นิว-เม-ติก) tire– ยางแบบมียางใน
Radial tire– ยางเรเดียล
Wheel – ล้อรถ
Wheel cover (คัฟ-เว่อะ) – ฝาครอบล้อ
Mud flap(แฟลพ) – ยางกันโคลนหลังล้อทั้งสี่ด้าน
Petrol tank (หรือ fuel tank) – ถังน้ำมัน, ถังเชื้อเพลิง
Fuel tank door– ฝาถังน้ำมันเชื้อเพลิง
Bucket seat– เบาะนั่งเดี่ยว (ตอนหน้ารถ)
Seat– เบาะนั่ง (ที่รองก้น)
Rear seat (backseat) – เบาะนั่งตอนหลัง
Headrest– พนักพิงศีรษะ (อยู่บนสุดของเบาะนั่ง)
Backrest– พนักพิงหลัง (ของเบาะนั่ง)
Seatbelt– เข็มขัดนิรภัย
Shoulder(โช้ล-เด่อะ) belt– เข็มขัดนิรภัยแบบพาดบ่า
Webbing– เข็มขัดนิรภัยแบบรัดหน้าตัก (อยู่เบาะนั่งตอนหลัง)
Adjustment knob– ปุ่มปรับพนักพิงหลัง (ปรับเอนเบาะ)
Sliding lever(เลฟ-เว่อะ) – คันปรับเลื่อนเบาะนั่ง
Sliding rail(เรล) – รางเลื่อนเบาะนั่ง
Armrest(อาร์ม-เรสท์) – ที่วางแขน (ทั้งเบาะหน้าและหลัง)
Bench seat– เบาะนั่งยาวด้านหลังรถ (เฉพาะที่รองก้น)
Interior door handle– ที่เปิดประตูด้านในของรถ
Assist grip– มือจับสำหรับเปิดประตูด้านในของรถ
Window regulator handle– ที่หมุนกระจกขึ้นลง (สำหรับรถที่ไม่ใช้ระบบไฟฟ้า)
Accessory pocket– ที่ใส่ของข้างประตู (ด้านในรถ)
Interior door lock button– ปุ่มล็อกประตูด้านใน (สำหรับรถที่ไม่ใช้ระบบไฟฟ้า)
Trim panel(ทริม-แพ้นเนิ่ล) – แผงภายในประตู (แผงบุด้านข้างประตูภายในตัวรถ)
Hinge(ฮิ้นจ์) – บานพับประตู
Horn– แตรรถ
Instrument panel– แผงหน้าปัด (อยู่ใต้พวงมาลัย)
Dashboard(แดช-บอร์ด) – แผงหน้าปัดทั้งหมดด้านหน้ารถ รวม instrument panel ด้วย
Wiper(ไว้-เพ่อะ) switch (หรือ wiper lever)– คันควบคุมที่ปัดน้ำฝน
Sun visor(ไว้-เซ่อะ) – แผงบังแดดหน้ารถ
Vanity(แว้น-นิ-ที่) mirror– กระจกส่องหน้าคนนั่งเบาะหน้า (แปะติดอยู่กับแผงบังแดด)
Vent – ช่องระบายลม อยู่บนแผงหน้าปัดทั้งด้านซ้ายและขวา
Clock– นาฬิกาบนแผงหน้าปัด
Turn signal lever – คันบังคับสัญญานไฟเลี้ยวซ้าย-ขวา
Headlight signal lever(เลฟ-เว่อะ) – คันเปิดปิดสัญญานไฟหน้า และไฟสูง-ต่ำ
Horn – แตรรถ
Ignition switch– สวิตซ์เปิด-ปิดเครื่องยนต์
Steering wheel– พวงมาลัยรถ
Clutch pedal(เพ้ด-เดิ้ล) – คันเหยียบคลัตซ์
Brake pedal– คันเหยียบเบรก
Parking brake lever– คันเบรกมือ
Gas pedal– คันเร่งความเร็ว (เร่งแกส-น้ำมัน)
Accelerator(แอค-เซล-เลอ-เร้-เท่อะ) pedal– คันเร่งความเร็ว
Glove compartment– ช่องเก็บของหน้ารถ อยู่ใต้แผงหน้าปัดด้านตรงข้ามคนขับ
Climate control– ปุ่มควบคุมเครื่องปรับอากาศ
Gear change lever– คันเกียร์
Gearshift lever– คันเกียร์
Low fuel(ฟิ้ว-เอิ้ล) warning light – ไฟเตือนระดับน้ำมันเชื้อเพลิง-แกสต่ำ
High(หรือ main) beam indicator light – ไฟสัญญานไฟสูง (อยู่บนแผงหน้าปัด มักขึ้นเป็นสีน้ำเงินเมื่อเปิดไฟสูง)
Battery warning light– ไฟเตือนสภาพแบตเตอรี่
Oil warning light– ไฟเตือนน้ำมันเครื่อง
Alternator (อ๊อล-เทอะ-เน-เท่อะ) warning light – ไฟเตือนสภาพแบตเตอรี่
Door open warning light– ไฟเตือนประตูปิดไม่สนิท
Seat-belt warning light– ไฟเตือนเข็มขัดนิรภัย (ถ้าไม่สวมเวลาขับรถ)
Temperature(เท็ม-เพ้อ-เช่อะ)indicator– เกจ์วัดระดับอุณหภูมิเครื่องยนต์ (อยู่ใกล้กับเกจ์วัดน้ำมัน)
Turn signal indicator– สัญญานไฟเลี้ยวบนแผงหน้าปัด (เป็นรูปลูกศรชี้ซ้าย-ขวา)
Tachometer (เท-ค้อม-มิ-เท่อะ) – เครื่องวัดอัตราหมุนรอบของเครื่องยนต์ต่อนาที
Fuel indicator – เกจ์วัดระดับน้ำมันเชื้อเพลิง
Odometer(โอ-ด๊อม-มี-เท่อะ) – มาตรวัดระยะทาง
Mileometer(ไมล์-อ๊อม-มี-เท่อะ) – มาตรวัดระยะทาง (เป็นไมล์)
Trip odometer(ทริพ-โอ-ด๊อม-มี-เท่อะ) – มาตรวัดระยะทางแบบตั้งได้
Trip mileometer– มาตรวัดระยะทางแบบตั้งได้ (ไมล์)
Speedometer (สพี-ด๊อม-มี-เท่อะ) – มาตรวัดอัตราความเร็ว
Audio system – ระบบเสียง มีหลายปุ่มให้เลือกปรับ
Injector– หัวฉีด (ของเครื่องยนต์เบนซิน)
Distributor cap– จานจ่าย
Spark plug– หัวเทียน
Spark plug cable – สายหัวเทียน
Piston – ลูกสูบ
Air conditioner compressor– คอมเพรสเซ่อร์เครื่องปรับอากาศที่ด้านหน้าตอนล่างของเครื่องยนต์
Oil pan– อ่างน้ำมันเครื่อง
Oil drain plug– น้อตหรือจุกเกลียวถ่ายน้ำมันเครื่อง
Fan belt– สายพานพัดลมหม้อน้ำ
Radiator– หม้อน้ำ
Filler cap– ฝาหม้อน้ำ
Cooling fan– พัดลมระบายความร้อนหม้อน้ำ
Intercooler – รังผึ้งระบายความร้อน (ทั้งแผง)
Electric motor – มอเตอร์ไฟฟ้า อยู่ตรงกลางพัดลมหม้อน้ำ
Grille (กริล) – ตะแกรงหม้อน้ำรถยนต์ เป็นเหล็กซี่ๆโปร่ง
Radiator hose (โฮส) – ท่ออ่อนหม้อน้ำ อยู่ด้านล่างสำหรับระบายน้ำทิ้ง
Battery– แบตเตอรี่รถยนต์
Battery cover– ฝาครอบแบตเตอรี่
Positive terminal– ขั้วบวก
Negative terminal– ขั้วลบ
Battery case– กล่อง (ฝา) หุ้มแบตเตอรี่ทั้งสี่ด้าน
Hydrometer- ช่องตรวจระดับน้ำกรด
Engine oil – น้ำมันเครื่อง
Lubricating oil– น้ำมันเครื่อง, น้ำมันหล่อลื่น
Fuel oil– น้ำมันเชื้อเพลิง
Diesel oil– น้ำมันดีเซล-โซล่า
Gasoline -น้ำมันเบนซิน
Gas – น้ำมันเบนซิน (อเมริกา)
Petrol(เพ้-โทรล) – น้ำมันเบนซิน (อังกฤษ)
Flushing (ฟลัช-ชิ่ง) oil– น้ำมันล้างเครื่อง
Brake oil– น้ำมันเบรค
Truck หรือ lorry – รถบรรทุก
Tandem tractor trailer – ชุดรถบรรทุกและรถพ่วง
Truck tractor – ส่วนหัวลากของรถบรรทุก
Truck trailer – ส่วนรถบรรทุกพ่วง
ศัพท์ภาษาอังกฤษที่เกี่ยวกับชิ้นส่วนรถยนต์ [Auto parts]
ศัพท์ภาษาอังกฤษที่เกี่ยวกับชิ้นส่วนรถยนต์ [Auto parts]
เบรก brakes
เบรกหน้า front brakes
เบรกหลัง rear brakes
เบรกเอบีเอส ABS brakes/Anti-Lock brakes
ก้ามเบรก brake shoes
ผ้าดิสเบรก disk brake pads
กระปุกเกียร์ gear box
กระจกรถยนต์ car glass
กระจกมองข้าง wing mirror
กระจกหน้ารถ windscreen
กระจกด้านหลังรถ car rear windscreen
กระจกมองหลัง rear view mirror
กระจกประตูหน้า front door glass
กระจกประตูหลัง rear door glass
เกียร์ธรรมดา manual gear
เกียร์อัตโนมัติ automatic gear
คันเกียร์ gear stick
เข็มขัดนิรภัย seatbelt
คันเร่ง Accelerator
คลัตช์ clutch
จานคลัตช์/แผ่นคลัตช์ clutch disc
หวีคลัตช์ clutch cover
ลูกปืนคลัตช์ clutch bearing
ลูกปืน bearing
ลูกปืนล้อหน้า front wheel bearing
ลูกปืนดุมล้อหน้า front wheel hub bearing
เครื่องทำความร้อน heater
จานจ่าย distributor
สายคันเร่ง throttle cable
สายเบรกมือ handbrake cable
สายดึงฝากระโปรงหน้า front bonnet release cable
เสาอากาศรถยนต์ car Antenna
แอร์รถยนต์ vehicle air conditioning/auto air conditioning
ที่นั่งตอนหน้า front seat
ที่นั่งตอนหลัง back seat
ฝากระโปรงหลัง rear bonet
ฝากระโปรงหน้า car bonnet
แผงหน้าปัดรถยนต์ car dashboard
ไอเสีย exhaust
ท่อไอเสีย exhaust pipe
ที่นั่งตอนหลัง front seat
ที่นั่งผู้โดยสาร passenger seat
มาตรแสดงความเร็ว speedometer
หลังคา roof
พวงมาลัย steering wheel
หม้อน้ำรถยนต์ radiator/car radiator
มาตรวัดอุณหภูมิ temperature gauge
ล้อ wheel
หน้าต่าง window
ที่ปัดน้ำฝน windscreen wiper
มาตรวัดความเร็ว speed meter
มาตรวัดรอบเครื่องยนต์ RPM meter
หลอดไฟรถยนต์ auto lamp
ไฟหน้า headlights
ไฟต่ำ low beam lights
ไฟสูง high beam lights
ไฟตัดหมอกหน้ารถ front fog light
ไฟหรี่ position light
ไฟข้าง side lights
ไฟส่องป้าย licence plate light
ไฟในห้องโดยสาร interior light
ไฟฉุกเฉิน hazard lights
ไฟเลี้ยว turning light
ไฟท้าย tail lamp
ไฟเบรก brake light
ไฟเบรกดวงที่3 the third brake light
ไฟถอย back-up light
ไฟตาแมว/ไฟแสดงการทำงาน Indicator Lamp
ไฟหน้าปัด dashboard light
starter signal ไฟสัญญาณสตาร์ท
ยางนอก tyre
แผ่นป้ายทะเบียนรถ number plate
แร็คหลังคา roof rack
เบรคมือ handbrake
เครื่องยนต์ engine
น้ำมันเครื่อง motor oil
น้ำมันเครื่องสังเคราะห์ Synthetic motor oil
น้ำมันเบรก brake fluid
น้ำมันเกียร์ gear oil
น้ำมันเกียร์ออโต้ automatic transmission fluid
พวงมาลัยเพาวเวอร์ power steering
น้ำมันพวงมาลัยเพาวเวอร์ power steering fluid
ถังน้ำมัน fuel tank
ถังน้ำมันเบนซิน petrol tank
สายน้ำมัน/ท่อน้ำมัน fuel hose/fuel rubber hose
แป๊บทองแดง copper pipe line
หัวเทียน spark plug
สายหัวเทียน spark plug wire
เบรก brakes
เบรกหน้า front brakes
เบรกหลัง rear brakes
เบรกเอบีเอส ABS brakes/Anti-Lock brakes
ก้ามเบรก brake shoes
ผ้าดิสเบรก disk brake pads
กระปุกเกียร์ gear box
กระจกรถยนต์ car glass
กระจกมองข้าง wing mirror
กระจกหน้ารถ windscreen
กระจกด้านหลังรถ car rear windscreen
กระจกมองหลัง rear view mirror
กระจกประตูหน้า front door glass
กระจกประตูหลัง rear door glass
เกียร์ธรรมดา manual gear
เกียร์อัตโนมัติ automatic gear
คันเกียร์ gear stick
เข็มขัดนิรภัย seatbelt
คันเร่ง Accelerator
คลัตช์ clutch
จานคลัตช์/แผ่นคลัตช์ clutch disc
หวีคลัตช์ clutch cover
ลูกปืนคลัตช์ clutch bearing
ลูกปืน bearing
ลูกปืนล้อหน้า front wheel bearing
ลูกปืนดุมล้อหน้า front wheel hub bearing
เครื่องทำความร้อน heater
จานจ่าย distributor
สายคันเร่ง throttle cable
สายเบรกมือ handbrake cable
สายดึงฝากระโปรงหน้า front bonnet release cable
เสาอากาศรถยนต์ car Antenna
แอร์รถยนต์ vehicle air conditioning/auto air conditioning
ที่นั่งตอนหน้า front seat
ที่นั่งตอนหลัง back seat
ฝากระโปรงหลัง rear bonet
ฝากระโปรงหน้า car bonnet
แผงหน้าปัดรถยนต์ car dashboard
ไอเสีย exhaust
ท่อไอเสีย exhaust pipe
ที่นั่งตอนหลัง front seat
ที่นั่งผู้โดยสาร passenger seat
มาตรแสดงความเร็ว speedometer
หลังคา roof
พวงมาลัย steering wheel
หม้อน้ำรถยนต์ radiator/car radiator
มาตรวัดอุณหภูมิ temperature gauge
ล้อ wheel
หน้าต่าง window
ที่ปัดน้ำฝน windscreen wiper
มาตรวัดความเร็ว speed meter
มาตรวัดรอบเครื่องยนต์ RPM meter
หลอดไฟรถยนต์ auto lamp
ไฟหน้า headlights
ไฟต่ำ low beam lights
ไฟสูง high beam lights
ไฟตัดหมอกหน้ารถ front fog light
ไฟหรี่ position light
ไฟข้าง side lights
ไฟส่องป้าย licence plate light
ไฟในห้องโดยสาร interior light
ไฟฉุกเฉิน hazard lights
ไฟเลี้ยว turning light
ไฟท้าย tail lamp
ไฟเบรก brake light
ไฟเบรกดวงที่3 the third brake light
ไฟถอย back-up light
ไฟตาแมว/ไฟแสดงการทำงาน Indicator Lamp
ไฟหน้าปัด dashboard light
starter signal ไฟสัญญาณสตาร์ท
ยางนอก tyre
แผ่นป้ายทะเบียนรถ number plate
แร็คหลังคา roof rack
เบรคมือ handbrake
เครื่องยนต์ engine
น้ำมันเครื่อง motor oil
น้ำมันเครื่องสังเคราะห์ Synthetic motor oil
น้ำมันเบรก brake fluid
น้ำมันเกียร์ gear oil
น้ำมันเกียร์ออโต้ automatic transmission fluid
พวงมาลัยเพาวเวอร์ power steering
น้ำมันพวงมาลัยเพาวเวอร์ power steering fluid
ถังน้ำมัน fuel tank
ถังน้ำมันเบนซิน petrol tank
สายน้ำมัน/ท่อน้ำมัน fuel hose/fuel rubber hose
แป๊บทองแดง copper pipe line
หัวเทียน spark plug
สายหัวเทียน spark plug wire
MIVEC Gear Ratios
MIVEC Gear Ratios
Code: CJ4A
1 - 3.071
2 - 1.947
3 - 1.379
4 - 1.030
5 - 0.820
R - 3.363
F - 4.625
Code: CA4A
1 - 3.083
2 - 1.947
3 - 1.285
4 - 0.939
5 - 0.756
R - 3.083
F - 4.592
Factory LSD models
CA4A Boxes (1991 -1994/5)
F5M22-2-????
Code:
XRZE (MD970428)
XRXE (MD971902)
XREE (MD971904)
Code:
XRWE (LSD) (MD970429)
XRGE (LSD) (MD971903)
CJ4A Boxes (1995/6 - 2001)
F5M42-1-????
Code:
Y8A (MD974481)
Y8A4 (MD974830)
Y8A6 (MD975130)
Y8A7 (MD975670)
Y8AB (MD975674)
Y8AD (MD975676)
Y8AE (MD976272)
Y8AJ (MD976276)
Y8AL (MD976278)
Code:
Y8A1 (LSD) (MD974482)
Y8A5 (LSD) (MD974831)
Y8A8 (LSD) (MD975671)
Y8AC (LSD) (MD975675)
Y8AF (LSD) (MD976273)
Y8AK (LSD) (MD976277)
Code: CJ4A
1 - 3.071
2 - 1.947
3 - 1.379
4 - 1.030
5 - 0.820
R - 3.363
F - 4.625
Code: CA4A
1 - 3.083
2 - 1.947
3 - 1.285
4 - 0.939
5 - 0.756
R - 3.083
F - 4.592
Factory LSD models
CA4A Boxes (1991 -1994/5)
F5M22-2-????
Code:
XRZE (MD970428)
XRXE (MD971902)
XREE (MD971904)
Code:
XRWE (LSD) (MD970429)
XRGE (LSD) (MD971903)
CJ4A Boxes (1995/6 - 2001)
F5M42-1-????
Code:
Y8A (MD974481)
Y8A4 (MD974830)
Y8A6 (MD975130)
Y8A7 (MD975670)
Y8AB (MD975674)
Y8AD (MD975676)
Y8AE (MD976272)
Y8AJ (MD976276)
Y8AL (MD976278)
Code:
Y8A1 (LSD) (MD974482)
Y8A5 (LSD) (MD974831)
Y8A8 (LSD) (MD975671)
Y8AC (LSD) (MD975675)
Y8AF (LSD) (MD976273)
Y8AK (LSD) (MD976277)
รถขาดต่อภาษีเกิน 3ปี มีวิธีการชำระเพื่อต่อทะเบียนอย่างไรบ้าง
รถขาดต่อภาษีเกิน
3ปี มีวิธีการชำระเพื่อต่อทะเบียนอย่างไรบ้าง
เป็นที่ทราบกันดีว่า กรมการขนส่งทางบก จะระงับทะเบียนรถที่ค้าง ชำระภาษีรถ 3 ปี นั่นหมายความว่าหาก คุณต้องการขายรถ แต่รถขาดต่อทะเบียนรถเกิน 3 ปีเรื่องนี้ไม่สามารถทำการซื้อขายรถได้ เพราะรถยนต์คันนั้นได้ถูกระงับทะเบียนไปแล้วไม่สามารถดำเนินการโอนหรือย้ายทะเบียนได้ แต่หากต้องการต่อทะเบียนยังสามารถทำได้ โดยมีขั้นตอนดังต่อไปนี้
1. นำสมุดคู่มือมาให้ทางราชการบันทึกการระงับทะเบียน และชำระภาษีค้างชำระ ณ สำนักงานขนส่งเขตพื้นที่ที่รถจดทะเบียน
2. ชำระภาษีที่ค้างตามที่เป็นจริง ตามอัตราภาษีรถประจำปีของรถแต่ละประเภทและเสียภาษีเพิ่มร้อยละ 1 ต่อเดือนจนถึงวันชำระ
3.แจ้งการขอใช้รถอีกครั้งหลังถอนอายัด พร้อมอัตราค่าธรรมเนียมและต้องซื้อ พรบ.ด้วยค่ะในขั้นตอนนี้
เป็นที่ทราบกันดีว่า กรมการขนส่งทางบก จะระงับทะเบียนรถที่ค้าง ชำระภาษีรถ 3 ปี นั่นหมายความว่าหาก คุณต้องการขายรถ แต่รถขาดต่อทะเบียนรถเกิน 3 ปีเรื่องนี้ไม่สามารถทำการซื้อขายรถได้ เพราะรถยนต์คันนั้นได้ถูกระงับทะเบียนไปแล้วไม่สามารถดำเนินการโอนหรือย้ายทะเบียนได้ แต่หากต้องการต่อทะเบียนยังสามารถทำได้ โดยมีขั้นตอนดังต่อไปนี้
1. นำสมุดคู่มือมาให้ทางราชการบันทึกการระงับทะเบียน และชำระภาษีค้างชำระ ณ สำนักงานขนส่งเขตพื้นที่ที่รถจดทะเบียน
2. ชำระภาษีที่ค้างตามที่เป็นจริง ตามอัตราภาษีรถประจำปีของรถแต่ละประเภทและเสียภาษีเพิ่มร้อยละ 1 ต่อเดือนจนถึงวันชำระ
3.แจ้งการขอใช้รถอีกครั้งหลังถอนอายัด พร้อมอัตราค่าธรรมเนียมและต้องซื้อ พรบ.ด้วยค่ะในขั้นตอนนี้
เอกสารและหลักฐาน
3.1 สมุดคู่มือจดทะเบียน ที่บันทึกการระงับทะเบียนแล้ว (ตัวจริงเท่านั้น พร้อมสำเนา)
3.2 บัตรประจำตัวประชาชนของเจ้าของรถ (ตัวจริงพร้อมสำเนา)
3.3 หลักฐานการประกันภัยตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ.2535
3.4 หลักฐานการได้มาของรถ เช่น หนังสือสัญญาซื้อขาย หรือหลักฐานการขายทอดตลาด (กรณีมิได้จดทะเบียนในชื่อเจ้าของเดิม)
3.5 หนังสือรับรองการจดทะเบียนเป็นนิติบุคคล (กรณีเป็นนิติบุคคล อายุการใช้งานไม่เกิน 6 เดือน)
3.6 สำเนาบัตรประจำตัวประชาชนของผู้มีอำนาจลงนาม กรณีเป็นนิติบุคคล
3.7 หนังสือมอบอำนาจ (กรณีที่เจ้าของรถไม่สะดวกไปดำเนินการ ติดอากรแสตมป์ 10 บาท) สำเนาบัตรประจำตัวประชาชนผู้รับมอบอำนาจ
3.1 สมุดคู่มือจดทะเบียน ที่บันทึกการระงับทะเบียนแล้ว (ตัวจริงเท่านั้น พร้อมสำเนา)
3.2 บัตรประจำตัวประชาชนของเจ้าของรถ (ตัวจริงพร้อมสำเนา)
3.3 หลักฐานการประกันภัยตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ.2535
3.4 หลักฐานการได้มาของรถ เช่น หนังสือสัญญาซื้อขาย หรือหลักฐานการขายทอดตลาด (กรณีมิได้จดทะเบียนในชื่อเจ้าของเดิม)
3.5 หนังสือรับรองการจดทะเบียนเป็นนิติบุคคล (กรณีเป็นนิติบุคคล อายุการใช้งานไม่เกิน 6 เดือน)
3.6 สำเนาบัตรประจำตัวประชาชนของผู้มีอำนาจลงนาม กรณีเป็นนิติบุคคล
3.7 หนังสือมอบอำนาจ (กรณีที่เจ้าของรถไม่สะดวกไปดำเนินการ ติดอากรแสตมป์ 10 บาท) สำเนาบัตรประจำตัวประชาชนผู้รับมอบอำนาจ
ค่าธรรมเนียม
– ค่าจดทะเบียนรถใหม่
– ค่าสมุดคู่มือจดทะเบียนรถ
– ค่าแผ่นป้ายทะเบียนรถ ป้ายละ
– หลักฐานการประกันภัยตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ.2535
– อัตราภาษีของรถแต่ละประเภท
– ค่าธรรมเนียมการตรวจสภาพ
– รถจักรยานยนต์
– รถยนต์
– ค่าจดทะเบียนรถใหม่
– ค่าสมุดคู่มือจดทะเบียนรถ
– ค่าแผ่นป้ายทะเบียนรถ ป้ายละ
– หลักฐานการประกันภัยตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ.2535
– อัตราภาษีของรถแต่ละประเภท
– ค่าธรรมเนียมการตรวจสภาพ
– รถจักรยานยนต์
– รถยนต์
รถที่ค้าง
ชำระภาษีรถ ประจำปี หลังจากวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2547 ค้างเกิน 3 ปี (ภาษีขาดเกิน
3 ปี เป็นภาษีระงับ ต้องชำระภาษีที่ค้าง 3 ปี) และเสียภาษีเพิ่มร้อยละ 1 ต่อเดือนจนถึงวันชำระ
ในกรณีที่ค้างชำระภาษี
ครบกำหนด 3 ปี เจ้าของรถต้องคืนแผ่นป้าย
และนำสมุดคู่มือมาให้ทางราชการบันทึกการระงับทะเบียน ภายใน 30 วัน
นับแต่วันที่นายทะเบียนระงับการดำเนินการทางทะเบียน หากไม่ไปดำเนินการ
ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 1,000 บาท สามารถตรวจสอบอัตราภาษีที่ค้างชำระได้ที่
กรมการขนส่งทางบกโดยใช้เลขที่เล่มทะเบียนรถหรือตรวจสอบได้ที่
หมายเลขสายด่วนกรมการขนส่งทางบก 1584
เครดิต : กรมการขนส่งทางบก
เครดิต : กรมการขนส่งทางบก
ขนาดหัวฉีด Mitsubishi ตระกูล 4Gxx เดิมโรงงาน (อัพเดท 23/08/19)
ขนาดหัวฉีด Mitsubishi ตระกูล 4Gxx เดิมโรงงาน (อัพเดท 23/08/19)
4g15 SOHC >> 180 and 182 (latest) cc/min
4g37 >> 210cc/min
4g67 >> 210cc/min
4g61 >> 210cc/min
4g61T >> 390cc/min
4g63 >> 240cc/min
4g63 SOHC/DOHC >> 210cc/min
4g63T DOHC
~manual 450cc/min 1st Gen DSM
~manual 450cc/min 2nd Gen DSM different spray pattern?
~auto 390cc/min (USDM)
~auto 450cc/min (JDM/NZ E39A GVR4)
4g63T >> 510cc/min (JDM E39A GVR4 RS)
4g64 >> 275cc/min
4g91 DOHC 210cc/min
4g92 SOHC >> 180cc (Proton) 190cc (MMC)
4g92 DOHC Mivec >> 275cc
4g93 SOHC >> 210cc/min
4g93 DOHC >> 240cc/min
4g93T DOHC >> 390cc/min
4g15 SOHC >> 180 and 182 (latest) cc/min
4g37 >> 210cc/min
4g67 >> 210cc/min
4g61 >> 210cc/min
4g61T >> 390cc/min
4g63 >> 240cc/min
4g63 SOHC/DOHC >> 210cc/min
4g63T DOHC
~manual 450cc/min 1st Gen DSM
~manual 450cc/min 2nd Gen DSM different spray pattern?
~auto 390cc/min (USDM)
~auto 450cc/min (JDM/NZ E39A GVR4)
4g63T >> 510cc/min (JDM E39A GVR4 RS)
4g64 >> 275cc/min
4g91 DOHC 210cc/min
4g92 SOHC >> 180cc (Proton) 190cc (MMC)
4g92 DOHC Mivec >> 275cc
4g93 SOHC >> 210cc/min
4g93 DOHC >> 240cc/min
4g93T DOHC >> 390cc/min
เฟืองท้าย LIMITED SLIP มีกี่แบบ และมีประโยชน์อย่างไร
เฟืองท้าย LIMITED SLIP มีกี่แบบ และมีประโยชน์อย่างไร
ถ้าหากจะแบ่งตามลักษณะการทำงานก็สามารถแยกให้เข้าใจง่าย ๆ ได้ถึง 3 แบบ ดังนี้ LSD 1 WAY, LSD 1.5 WAY และ LSD 2 WAY แต่ละแบบมีข้อดีที่แตกต่างกันตามความเหมาะสมของการใช้งาน
เฟืองท้ายลิมิเต็ด สลิป สามารถจำกัดการลื่นไถลของล้อที่ใช้ส่งกำลังขับเคลื่อนได้เป็นอย่างดี จึงมีใช้ในรถยนต์หลายประเภท ทั้งรถยนต์สปอร์ต และรถยนต์ออฟโรดอาจมีเปอร์เซ็นต์การจับตัวที่แตกต่างกันไป เช่น การจับ 50 เปอร์เซ็นต์ 70เปอร์เซ็นต์ 90เปอร์เซ็นต์ หรือ 100เปอร์เซ็นต์
LSD 1 WAY จะเป็นเฟืองท้ายลิมิเต็ด สลิป ที่ทำงานทางเดียว การจับตัวของเฟืองท้ายจะทำงานขณะที่มีการเร่งเครื่องยนต์ส่งทอร์คลงสู่ล้อเพื่อขับเคลื่อน แต่ขณะที่ยกคันเร่ง ชุดลิมิเต็ด สลิป จะคลายตัวเป็นอิสระ ฟรี ไม่เกิดแรงหน่วงขณะถอนคันเร่ง การขับเข้าทางโค้งจะให้การตอบสนองใกล้เคียงกับเฟืองท้ายแบบธรรมดา
LSD 1.5 WAY เฟืองท้ายลิมิเต็ด สลิป แบบนี้ จะทำงานสองทาง คือ มีการจับตัวของเฟืองท้ายทั้งขณะเร่งเครื่องยนต์ส่งทอร์คลงสู่ล้อเพื่อขับเคลื่อน และขณะถgอนคันเร่ง แต่ชุดลิมิเต็ด สลิป แบบนี้จะมีการจับตัวขณะถอนคันเร่งน้อยกว่าขณะเร่งเครื่องยนต์ ทำให้เกิดแรงหน่วง ขณะถอนคันเร่งบ้าง สำหรับระบบขับเครื่องล้อหลัง การขับเข้าทางโค้งจะให้การตอบสนองจะมีอาการท้ายปัด OVER STEER มากกว่าเฟืองท้ายแบบธรรมดา
LSD 2 WAY เฟืองท้ายลิมิเต็ดสลิป แบบนี้ จะทำงานสองทางเช่นเดียวกับแบบเฟืองท้าย ลิมิเต็ดสลิป แบบ 1.5 WAY มีการจับตัวของเฟืองท้ายทั้งขณะเร่งเครื่องยนต์ส่งทอร์คลงสู่ล้อเพื่อขับเคลื่อน และขณะถอนคันเร่ง แต่ชุดลิมิเต็ด สลิป แบบนี้ มีการจับตัวขณะถอนคันเร่งและขณะเร่งเครื่องยนต์ในอัตราที่เท่ากัน ทำให้เกิดแรงหน่วงขณะถอนคันเร่งสำหรับระบบขับเคลื่อนล้อหลัง การขับเข้าทางโค้งจะให้การตอบสนอง จะมีอาการท้ายปัด OVER STEER มากกว่าแบบ 1.5 WAY
เครดิต : http://www.weekendhobby.com/offroad/nissan/Question.asp?ID=3463
ถ้าหากจะแบ่งตามลักษณะการทำงานก็สามารถแยกให้เข้าใจง่าย ๆ ได้ถึง 3 แบบ ดังนี้ LSD 1 WAY, LSD 1.5 WAY และ LSD 2 WAY แต่ละแบบมีข้อดีที่แตกต่างกันตามความเหมาะสมของการใช้งาน
เฟืองท้ายลิมิเต็ด สลิป สามารถจำกัดการลื่นไถลของล้อที่ใช้ส่งกำลังขับเคลื่อนได้เป็นอย่างดี จึงมีใช้ในรถยนต์หลายประเภท ทั้งรถยนต์สปอร์ต และรถยนต์ออฟโรดอาจมีเปอร์เซ็นต์การจับตัวที่แตกต่างกันไป เช่น การจับ 50 เปอร์เซ็นต์ 70เปอร์เซ็นต์ 90เปอร์เซ็นต์ หรือ 100เปอร์เซ็นต์
LSD 1 WAY จะเป็นเฟืองท้ายลิมิเต็ด สลิป ที่ทำงานทางเดียว การจับตัวของเฟืองท้ายจะทำงานขณะที่มีการเร่งเครื่องยนต์ส่งทอร์คลงสู่ล้อเพื่อขับเคลื่อน แต่ขณะที่ยกคันเร่ง ชุดลิมิเต็ด สลิป จะคลายตัวเป็นอิสระ ฟรี ไม่เกิดแรงหน่วงขณะถอนคันเร่ง การขับเข้าทางโค้งจะให้การตอบสนองใกล้เคียงกับเฟืองท้ายแบบธรรมดา
LSD 1.5 WAY เฟืองท้ายลิมิเต็ด สลิป แบบนี้ จะทำงานสองทาง คือ มีการจับตัวของเฟืองท้ายทั้งขณะเร่งเครื่องยนต์ส่งทอร์คลงสู่ล้อเพื่อขับเคลื่อน และขณะถgอนคันเร่ง แต่ชุดลิมิเต็ด สลิป แบบนี้จะมีการจับตัวขณะถอนคันเร่งน้อยกว่าขณะเร่งเครื่องยนต์ ทำให้เกิดแรงหน่วง ขณะถอนคันเร่งบ้าง สำหรับระบบขับเครื่องล้อหลัง การขับเข้าทางโค้งจะให้การตอบสนองจะมีอาการท้ายปัด OVER STEER มากกว่าเฟืองท้ายแบบธรรมดา
LSD 2 WAY เฟืองท้ายลิมิเต็ดสลิป แบบนี้ จะทำงานสองทางเช่นเดียวกับแบบเฟืองท้าย ลิมิเต็ดสลิป แบบ 1.5 WAY มีการจับตัวของเฟืองท้ายทั้งขณะเร่งเครื่องยนต์ส่งทอร์คลงสู่ล้อเพื่อขับเคลื่อน และขณะถอนคันเร่ง แต่ชุดลิมิเต็ด สลิป แบบนี้ มีการจับตัวขณะถอนคันเร่งและขณะเร่งเครื่องยนต์ในอัตราที่เท่ากัน ทำให้เกิดแรงหน่วงขณะถอนคันเร่งสำหรับระบบขับเคลื่อนล้อหลัง การขับเข้าทางโค้งจะให้การตอบสนอง จะมีอาการท้ายปัด OVER STEER มากกว่าแบบ 1.5 WAY
เครดิต : http://www.weekendhobby.com/offroad/nissan/Question.asp?ID=3463
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
Drift on the Mitsubishi Colt: the impossible is possible
Here is one of the very unique modification done on a Mitsubishi Colt 1993 and known as Proton Satria by the Malaysian. As one of the Pr...
-
Fellow Readers, here are something useful for MIVEC first generation 4G92 users. I found this helpful information about MIVEC replaceme...
-
Since I am driving a Proton Satria a re-badged model of Mitsubishi Mirage Hatchback from 1992-1995, I would like to share some informat...