รถขาดต่อภาษีเกิน
3ปี มีวิธีการชำระเพื่อต่อทะเบียนอย่างไรบ้าง
เป็นที่ทราบกันดีว่า กรมการขนส่งทางบก จะระงับทะเบียนรถที่ค้าง ชำระภาษีรถ 3 ปี นั่นหมายความว่าหาก คุณต้องการขายรถ แต่รถขาดต่อทะเบียนรถเกิน 3 ปีเรื่องนี้ไม่สามารถทำการซื้อขายรถได้ เพราะรถยนต์คันนั้นได้ถูกระงับทะเบียนไปแล้วไม่สามารถดำเนินการโอนหรือย้ายทะเบียนได้ แต่หากต้องการต่อทะเบียนยังสามารถทำได้ โดยมีขั้นตอนดังต่อไปนี้
1. นำสมุดคู่มือมาให้ทางราชการบันทึกการระงับทะเบียน และชำระภาษีค้างชำระ ณ สำนักงานขนส่งเขตพื้นที่ที่รถจดทะเบียน
2. ชำระภาษีที่ค้างตามที่เป็นจริง ตามอัตราภาษีรถประจำปีของรถแต่ละประเภทและเสียภาษีเพิ่มร้อยละ 1 ต่อเดือนจนถึงวันชำระ
3.แจ้งการขอใช้รถอีกครั้งหลังถอนอายัด พร้อมอัตราค่าธรรมเนียมและต้องซื้อ พรบ.ด้วยค่ะในขั้นตอนนี้
เป็นที่ทราบกันดีว่า กรมการขนส่งทางบก จะระงับทะเบียนรถที่ค้าง ชำระภาษีรถ 3 ปี นั่นหมายความว่าหาก คุณต้องการขายรถ แต่รถขาดต่อทะเบียนรถเกิน 3 ปีเรื่องนี้ไม่สามารถทำการซื้อขายรถได้ เพราะรถยนต์คันนั้นได้ถูกระงับทะเบียนไปแล้วไม่สามารถดำเนินการโอนหรือย้ายทะเบียนได้ แต่หากต้องการต่อทะเบียนยังสามารถทำได้ โดยมีขั้นตอนดังต่อไปนี้
1. นำสมุดคู่มือมาให้ทางราชการบันทึกการระงับทะเบียน และชำระภาษีค้างชำระ ณ สำนักงานขนส่งเขตพื้นที่ที่รถจดทะเบียน
2. ชำระภาษีที่ค้างตามที่เป็นจริง ตามอัตราภาษีรถประจำปีของรถแต่ละประเภทและเสียภาษีเพิ่มร้อยละ 1 ต่อเดือนจนถึงวันชำระ
3.แจ้งการขอใช้รถอีกครั้งหลังถอนอายัด พร้อมอัตราค่าธรรมเนียมและต้องซื้อ พรบ.ด้วยค่ะในขั้นตอนนี้
เอกสารและหลักฐาน
3.1 สมุดคู่มือจดทะเบียน ที่บันทึกการระงับทะเบียนแล้ว (ตัวจริงเท่านั้น พร้อมสำเนา)
3.2 บัตรประจำตัวประชาชนของเจ้าของรถ (ตัวจริงพร้อมสำเนา)
3.3 หลักฐานการประกันภัยตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ.2535
3.4 หลักฐานการได้มาของรถ เช่น หนังสือสัญญาซื้อขาย หรือหลักฐานการขายทอดตลาด (กรณีมิได้จดทะเบียนในชื่อเจ้าของเดิม)
3.5 หนังสือรับรองการจดทะเบียนเป็นนิติบุคคล (กรณีเป็นนิติบุคคล อายุการใช้งานไม่เกิน 6 เดือน)
3.6 สำเนาบัตรประจำตัวประชาชนของผู้มีอำนาจลงนาม กรณีเป็นนิติบุคคล
3.7 หนังสือมอบอำนาจ (กรณีที่เจ้าของรถไม่สะดวกไปดำเนินการ ติดอากรแสตมป์ 10 บาท) สำเนาบัตรประจำตัวประชาชนผู้รับมอบอำนาจ
3.1 สมุดคู่มือจดทะเบียน ที่บันทึกการระงับทะเบียนแล้ว (ตัวจริงเท่านั้น พร้อมสำเนา)
3.2 บัตรประจำตัวประชาชนของเจ้าของรถ (ตัวจริงพร้อมสำเนา)
3.3 หลักฐานการประกันภัยตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ.2535
3.4 หลักฐานการได้มาของรถ เช่น หนังสือสัญญาซื้อขาย หรือหลักฐานการขายทอดตลาด (กรณีมิได้จดทะเบียนในชื่อเจ้าของเดิม)
3.5 หนังสือรับรองการจดทะเบียนเป็นนิติบุคคล (กรณีเป็นนิติบุคคล อายุการใช้งานไม่เกิน 6 เดือน)
3.6 สำเนาบัตรประจำตัวประชาชนของผู้มีอำนาจลงนาม กรณีเป็นนิติบุคคล
3.7 หนังสือมอบอำนาจ (กรณีที่เจ้าของรถไม่สะดวกไปดำเนินการ ติดอากรแสตมป์ 10 บาท) สำเนาบัตรประจำตัวประชาชนผู้รับมอบอำนาจ
ค่าธรรมเนียม
– ค่าจดทะเบียนรถใหม่
– ค่าสมุดคู่มือจดทะเบียนรถ
– ค่าแผ่นป้ายทะเบียนรถ ป้ายละ
– หลักฐานการประกันภัยตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ.2535
– อัตราภาษีของรถแต่ละประเภท
– ค่าธรรมเนียมการตรวจสภาพ
– รถจักรยานยนต์
– รถยนต์
– ค่าจดทะเบียนรถใหม่
– ค่าสมุดคู่มือจดทะเบียนรถ
– ค่าแผ่นป้ายทะเบียนรถ ป้ายละ
– หลักฐานการประกันภัยตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ.2535
– อัตราภาษีของรถแต่ละประเภท
– ค่าธรรมเนียมการตรวจสภาพ
– รถจักรยานยนต์
– รถยนต์
รถที่ค้าง
ชำระภาษีรถ ประจำปี หลังจากวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2547 ค้างเกิน 3 ปี (ภาษีขาดเกิน
3 ปี เป็นภาษีระงับ ต้องชำระภาษีที่ค้าง 3 ปี) และเสียภาษีเพิ่มร้อยละ 1 ต่อเดือนจนถึงวันชำระ
ในกรณีที่ค้างชำระภาษี
ครบกำหนด 3 ปี เจ้าของรถต้องคืนแผ่นป้าย
และนำสมุดคู่มือมาให้ทางราชการบันทึกการระงับทะเบียน ภายใน 30 วัน
นับแต่วันที่นายทะเบียนระงับการดำเนินการทางทะเบียน หากไม่ไปดำเนินการ
ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 1,000 บาท สามารถตรวจสอบอัตราภาษีที่ค้างชำระได้ที่
กรมการขนส่งทางบกโดยใช้เลขที่เล่มทะเบียนรถหรือตรวจสอบได้ที่
หมายเลขสายด่วนกรมการขนส่งทางบก 1584
เครดิต : กรมการขนส่งทางบก
เครดิต : กรมการขนส่งทางบก
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น